ReadyPlanet.com
dot dot
dot
dot
dot
dot
dot
dot
dot
dot
dot
dot
dot
dot
dot
dot
dot
dot
dot
dot
dot
dot
dot
dot
dot
dot
dot
dot
dot
dot
dot
dot
dot
dot
dot
dot
dot
dot
dot
dot
dot
dot
dot
dot
dot
dot
dot
dot


ระบบโปรแกรม SET
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพิ้นฐาน
สำนักบริหารงานการศึกษาพิเศษ
เข้าสู่เว็บไซต์จังหวัดสุพรรณบุรี


บทบาทของครูและโรงเรียนต่อการอบรมเลี้ยงดูอย่างสร้างสรรค์

 

บทบาทของครูและโรงเรียนต่อการอบรมเลี้ยงดูอย่างสร้างสรรค์ล่ะคะ

ปลูกฝังวินัยอย่างสร้างสรรค์ (ตอนที่ 4)
โดย แพทย์หญิงนลินี เชื้อวณิชชากร
กุมารแพทย์ด้านพัฒนาการและพฤติกรรม ศูนย์การแพทย์โรงพยาบาลกรุงเทพ
บทบาทของครูและโรงเรียนต่อการอบรมเลี้ยงดูอย่างสร้างสรรค์ล่ะคะ
เด็กๆ ใช้เวลาส่วนใหญ่อยู่ที่โรงเรียน ถ้าคุณครูใช้แนวทางการอบรมเลี้ยงดูเชิงสร้างสรรค์ไปด้วย จะทำให้เด็กๆ อยากมาโรงเรียน เพราะเขารู้สึกว่าได้อยู่กับคนที่รักเขา หรือเด็กบางคนที่บาดเจ็บทางจิตใจซึ่งมีสาเหตุจากครอบครัวจะค่อยๆ ได้รับการเยียวยา
คุณครูเองต้องทำความเข้าใจเรื่องพัฒนาการเด็กและเรียนรู้ถึงการปรับเทคนิคเพื่อดึงดูดความสนใจของเด็ก อย่างวันก่อนไปเห็นที่ศูนย์พัฒนาเด็กก่อนวัยเรียน น่าสนใจมากค่ะ คือปกติเด็กจะขึ้นลงบันไดตามสะดวกใจแต่ตอนหลังครูก็ทำรูปเท้า เท้าขึ้นอยู่ทางซ้าย เท้าลงอยู่ทางขวา เด็กก็เริ่มเรียนรู้แล้วว่าถ้าลง ฉันต้องชิดขวา แต่ถ้าครูเขียนตัวหนังสือทำป้ายติดว่า ‘กรุณาชิดขวา หรือทางขึ้นทางลง’ เด็กอาจไม่เข้าใจ เพราะเป็นเทคนิคการสร้างวินัยที่ไม่เหมาะสมกับวัย
เมื่อเราต้องการปรับพฤติกรรมเด็ก แล้วไม่รู้ว่าจะใช้เทคนิคอะไรดี แนะนำให้เปิดเป็นคำถามคุยกับเด็กเลย แล้วฟังเทคนิคของเขา เพราะกระบวนการกลุ่มสามารถทำให้รู้สิ่งที่เด็กกำลังคิดอยู่ และเขาจะเข้ามามีส่วนร่วมด้วยความรู้สึกเห็นคุณค่า มีตัวมีตน รวมทั้งเป็นการพิสูจน์ว่าเสียงของเขามีพลัง สามารถพูดให้ใครบางคนได้ยินและได้รับความสนใจหรือกลายเป็นหลักปฏิบัติได้ จึงเกิดเป็นสัมพันธภาพที่ดี พอเราเปิดใจรับฟังเขา เขาก็เปิดใจรับฟังเรามากขึ้น
ต้องใช้เวลานานแค่ไหนคะ จึงจะเห็นผล
จริงๆ แล้ว ถ้าใช้การอบรมเลี้ยงดูเชิงสร้างสรรค์ก็เห็นผลได้ทันทีที่พ่อแม่ทำได้ถูกต้อง แต่ต้องมองในระยะยาวด้วย บางครั้งเด็กอาจงอแงเนื่องจากยังควบคุมตนเองได้ไม่ดี หรือท้าทายผู้ใหญ่เพื่อทดสอบอำนาจของตน ถ้าผู้ใหญ่ไม่เข้าใจ ก็อาจจะแก้ปัญหาเฉพาะหน้า เช่น เมื่อลูกร้องขอซื้อสิ่งต่างๆ ถ้าพ่อแม่ไม่ให้ก็ร้องดิ้นจนพ่อแม่ต้องให้ แล้วเขาจะงอแงในเรื่องอื่นๆ ต่ออีก
ที่จริงแล้ว เด็กต้องการขอบเขตและการฝึกฝนการควบคุมตนเองจากผู้ใหญ่ เขาจึงต้องการผู้ใหญ่ที่หนักแน่น มั่นคงด้วยค่ะ
การเลี้ยงลูกก็คล้ายๆ การปลูกบ้าน ถ้าตอกเสาเข็มไม่ดี ต่อให้เราสร้างจนเสร็จ สวยงาม มีหลังคา แต่สักวันหนึ่งก็ต้องทรุด
ติดตามอ่าน “อุปสรรคต่อการปลูกฝังวินัยอย่างสร้างสรรค์” ในบทความตอนต่อไปได้ที่ www.ฉลาดรอบด้าน.com นะคะ
ปลูกฝังวินัยอย่างสร้างสรรค์ (ตอนที่ 4)
โดย แพทย์หญิงนลินี เชื้อวณิชชากร
กุมารแพทย์ด้านพัฒนาการและพฤติกรรม ศูนย์การแพทย์โรงพยาบาลกรุงเทพ
บทบาทของครูและโรงเรียนต่อการอบรมเลี้ยงดูอย่างสร้างสรรค์ล่ะคะ
เด็กๆ ใช้เวลาส่วนใหญ่อยู่ที่โรงเรียน ถ้าคุณครูใช้แนวทางการอบรมเลี้ยงดูเชิงสร้างสรรค์ไปด้วย จะทำให้เด็กๆ อยากมาโรงเรียน เพราะเขารู้สึกว่าได้อยู่กับคนที่รักเขา หรือเด็กบางคนที่บาดเจ็บทางจิตใจซึ่งมีสาเหตุจากครอบครัวจะค่อยๆ ได้รับการเยียวยา
คุณครูเองต้องทำความเข้าใจเรื่องพัฒนาการเด็กและเรียนรู้ถึงการปรับเทคนิคเพื่อดึงดูดความสนใจของเด็ก อย่างวันก่อนไปเห็นที่ศูนย์พัฒนาเด็กก่อนวัยเรียน น่าสนใจมากค่ะ คือปกติเด็กจะขึ้นลงบันไดตามสะดวกใจแต่ตอนหลังครูก็ทำรูปเท้า เท้าขึ้นอยู่ทางซ้าย เท้าลงอยู่ทางขวา เด็กก็เริ่มเรียนรู้แล้วว่าถ้าลง ฉันต้องชิดขวา แต่ถ้าครูเขียนตัวหนังสือทำป้ายติดว่า ‘กรุณาชิดขวา หรือทางขึ้นทางลง’ เด็กอาจไม่เข้าใจ เพราะเป็นเทคนิคการสร้างวินัยที่ไม่เหมาะสมกับวัย
เมื่อเราต้องการปรับพฤติกรรมเด็ก แล้วไม่รู้ว่าจะใช้เทคนิคอะไรดี แนะนำให้เปิดเป็นคำถามคุยกับเด็กเลย แล้วฟังเทคนิคของเขา เพราะกระบวนการกลุ่มสามารถทำให้รู้สิ่งที่เด็กกำลังคิดอยู่ และเขาจะเข้ามามีส่วนร่วมด้วยความรู้สึกเห็นคุณค่า มีตัวมีตน รวมทั้งเป็นการพิสูจน์ว่าเสียงของเขามีพลัง สามารถพูดให้ใครบางคนได้ยินและได้รับความสนใจหรือกลายเป็นหลักปฏิบัติได้ จึงเกิดเป็นสัมพันธภาพที่ดี พอเราเปิดใจรับฟังเขา เขาก็เปิดใจรับฟังเรามากขึ้น
ต้องใช้เวลานานแค่ไหนคะ จึงจะเห็นผล
จริงๆ แล้ว ถ้าใช้การอบรมเลี้ยงดูเชิงสร้างสรรค์ก็เห็นผลได้ทันทีที่พ่อแม่ทำได้ถูกต้อง แต่ต้องมองในระยะยาวด้วย บางครั้งเด็กอาจงอแงเนื่องจากยังควบคุมตนเองได้ไม่ดี หรือท้าทายผู้ใหญ่เพื่อทดสอบอำนาจของตน ถ้าผู้ใหญ่ไม่เข้าใจ ก็อาจจะแก้ปัญหาเฉพาะหน้า เช่น เมื่อลูกร้องขอซื้อสิ่งต่างๆ ถ้าพ่อแม่ไม่ให้ก็ร้องดิ้นจนพ่อแม่ต้องให้ แล้วเขาจะงอแงในเรื่องอื่นๆ ต่ออีก
ที่จริงแล้ว เด็กต้องการขอบเขตและการฝึกฝนการควบคุมตนเองจากผู้ใหญ่ เขาจึงต้องการผู้ใหญ่ที่หนักแน่น มั่นคงด้วยค่ะ
การเลี้ยงลูกก็คล้ายๆ การปลูกบ้าน ถ้าตอกเสาเข็มไม่ดี ต่อให้เราสร้างจนเสร็จ สวยงาม มีหลังคา แต่สักวันหนึ่งก็ต้องทรุด
ติดตามอ่าน “อุปสรรคต่อการปลูกฝังวินัยอย่างสร้างสรรค์” ในบทความตอนต่อไปได้ที่ www.ฉลาดรอบด้าน.com นะคะ ปลูกฝังวินัยอย่างสร้างสรรค์ (ตอนที่ 4)



เด็กๆ ใช้เวลาส่วนใหญ่อยู่ที่โรงเรียน ถ้าคุณครูใช้แนวทางการอบรมเลี้ยงดูเชิงสร้างสรรค์ไปด้วย จะทำให้เด็กๆ อยากมาโรงเรียน เพราะเขารู้สึกว่าได้อยู่กับคนที่รักเขา หรือเด็กบางคนที่บาดเจ็บทางจิตใจซึ่งมีสาเหตุจากครอบครัวจะค่อยๆ ได้รับการเยียวยา

คุณครูเองต้องทำความเข้าใจเรื่องพัฒนาการเด็กและเรียนรู้ถึงการปรับเทคนิคเพื่อดึงดูดความสนใจของเด็ก อย่างวันก่อนไปเห็นที่ศูนย์พัฒนาเด็กก่อนวัยเรียน น่าสนใจมากค่ะ คือปกติเด็กจะขึ้นลงบันไดตามสะดวกใจแต่ตอนหลังครูก็ทำรูปเท้า เท้าขึ้นอยู่ทางซ้าย เท้าลงอยู่ทางขวา เด็กก็เริ่มเรียนรู้แล้วว่าถ้าลง ฉันต้องชิดขวา แต่ถ้าครูเขียนตัวหนังสือทำป้ายติดว่า ‘กรุณาชิดขวา หรือทางขึ้นทางลง’ เด็กอาจไม่เข้าใจ เพราะเป็นเทคนิคการสร้างวินัยที่ไม่เหมาะสมกับวัย


เมื่อเราต้องการปรับพฤติกรรมเด็ก แล้วไม่รู้ว่าจะใช้เทคนิคอะไรดี แนะนำให้เปิดเป็นคำถามคุยกับเด็กเลย แล้วฟังเทคนิคของเขา เพราะกระบวนการกลุ่มสามารถทำให้รู้สิ่งที่เด็กกำลังคิดอยู่ และเขาจะเข้ามามีส่วนร่วมด้วยความรู้สึกเห็นคุณค่า มีตัวมีตน รวมทั้งเป็นการพิสูจน์ว่าเสียงของเขามีพลัง สามารถพูดให้ใครบางคนได้ยินและได้รับความสนใจหรือกลายเป็นหลักปฏิบัติได้ จึงเกิดเป็น
สัมพันธภาพที่ดี พอเราเปิดใจรับฟังเขา เขาก็เปิดใจรับฟังเรามากขึ้น

ต้องใช้เวลานานแค่ไหนคะ จึงจะเห็นผล

จริงๆ แล้ว ถ้าใช้การอบรมเลี้ยงดูเชิงสร้างสรรค์ก็เห็นผลได้ทันทีที่พ่อแม่ทำได้ถูกต้อง แต่ต้องมองในระยะยาวด้วย บางครั้งเด็กอาจงอแงเนื่องจากยังควบคุมตนเองได้ไม่ดี หรือท้าทายผู้ใหญ่เพื่อทดสอบอำนาจ
ของตน ถ้าผู้ใหญ่ไม่เข้าใจ ก็อาจจะแก้ปัญหาเฉพาะหน้า เช่น เมื่อลูกร้องขอซื้อสิ่งต่างๆ ถ้าพ่อแม่ไม่ให้ก็ร้องดิ้นจนพ่อแม่ต้องให้ แล้วเขาจะงอแงในเรื่องอื่นๆ ต่ออีก

ที่จริงแล้ว เด็กต้องการขอบเขตและการฝึกฝนการควบคุมตนเองจากผู้ใหญ่ เขาจึงต้องการผู้ใหญ่ที่หนักแน่น มั่นคงด้วยค่ะ


การเลี้ยงลูกก็คล้ายๆ การปลูกบ้าน ถ้าตอกเสาเข็มไม่ดี ต่อให้เราสร้างจนเสร็จ สวยงาม มีหลังคา แต่สักวันหนึ่งก็ต้องทรุด


ติดตามอ่าน “อุปสรรคต่อการปลูกฝังวินัยอย่างสร้างสรรค์” ในบทความตอนต่อไปได้ที่ www.ฉลาดรอบด้าน.com นะคะ




บทความ/เกร็ดความรู้

รายงานผลการศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ เรื่อง การบวก สำหรับนักเรียนที่มีความบกพร่องทางสติปัญญา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนสุพรรณบุรีปัญญานุกูล โดยใช้แบบฝึกทักษะ
แหล่งเรียนรู้ในโรงเรียน
เรียนรู้และเข้าใจเด็กออทิสติก article
งานวิจัยในชั้นเรียน เกมการศึกษา / พัฒนาศักยภาพทางการพูด / เด็กที่มีความบกพร่องทางสติปัญญาประเภทดาวน์ซินโดรม โดย จุมพล บุญฉ่ำ article



Copyright © 2010 All Rights Reserved.